ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
ค้นหา   
นายก อบจ.ขอนแก่น

นายพงษ์ศักดิ์ ตั้งวานิชกพงษ์
นายก อบจ.ขอนแก่น

เมนูหลัก
คลังเก็บรูปภาพ
ระบบสารสนเทศ
โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม
โรงเรียนบ้านคูขาด (สถิตย์อุปถัมภ์)
โรงเรียนบ้านหนองเสี้ยว
โรงเรียนแท่นศิลาทิพย์ศึกษา
โรงเรียนศรีเสมาวิทยาเสริม
โรงเรียนพิศาลปุณณวิทยา
โรงเรียนซำสูงพิทยาคม
โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย
โรงเรียนหนองโนประชาสรรค์
โรงเรียนพูวัดพิทยาคม
โรงเรียนโคกสูงประชาสรรค์
โรงเรียนโนนหันวิทยายน
โรงเรียนสีชมพูศึกษา
โรงเรียนมัธยมหนองเขียด
โรงเรียนโนนโพธิ์ศรีวิทยาคม
โรงเรียนพระยืนวิทยาคาร
โรงเรียนซับสมบูรณ์พิทยาลัย
โรงเรียนเปรมติณสูลานนท์
โรงเรียนนางิ้ววิทยาสรรค์
โรงเรียนบ้านบะแค
โปรแกรมดูผลการเรียนนักเรียนรายบุคคล
เว็บไซด์โรงเรียนในสังกัด
ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
โรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น
โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม
โรงเรียนบ้านคูขาด (สถิตย์อุปถัมภ์)
โรงเรียนบ้านหนองเสี้ยว
โรงเรียนแท่นศิลาทิพย์ศึกษา
โรงเรียนศรีเสมาวิทยาเสริม
โรงเรียนพิศาลปุณณวิทยา
โรงเรียนซำสูงพิทยาคม
โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย
โรงเรียนหนองโนประชาสรรค์
โรงเรียนพูวัดพิทยาคม
โรงเรียนโคกสูงประชาสรรค์
โรงเรียนโนนหันวิทยายน
โรงเรียนสีชมพูศึกษา
โรงเรียนมัธยมหนองเขียด
โรงเรียนโนนโพธิ์ศรีวิทยาคม
โรงเรียนพระยืนวิทยาคาร
โรงเรียนซับสมบูรณ์พิทยาลัย
โรงเรียนเปรมติณสูลานนท์
โรงเรียนนางิ้ววิทยาสรรค์
โรงเรียนบ้านบะแค

  

งานวิจัยการศึกษา
    เรื่อง : การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะ การคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน

เจ้าของผลงาน : นายดำรง อ่อนอภัย
พุธ ที่ 29 เดือน มีนาคม พ.ศ.2566
เข้าชม : 880    จำนวนการดาวน์โหลด : 127 ครั้ง
5 stars เฉลี่ย : 5 จาก 3 ครั้ง.

บทคัดย่อ :
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และความต้องการ ในรูปแบบ การบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน 3) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบ การบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน และ 4) เพื่อประเมินและปรับปรุงรูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน ด าเนินการวิจัยและ พัฒนาแบ่งเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลพื้นฐานกลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนโนนหันวิทยายน จ านวน 7 คน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ จ านวน 14 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จ านวน 15 คน คณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองครู และศิษย์เก่าโรงเรียนโนนหันวิทยายน จ านวน 20 คน คณะกรรมการสภานักเรียนโรงเรียนโนนหันวิทยายน จ านวน 30 คน รวม 86 คน ครูผู้สอนโรงเรียนโนนหันวิทยายน สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จ านวน 57 คน ระยะที่ 2 การออกแบบและพัฒนารูปแบบการบริหาร จัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหัน วิทยายน (ร่าง) กลุ่มตัวอย่างคือ ครูผู้สอนโครงงานโรงเรียนสีชมพูศึกษา จ านวน 30 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัย ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และนักเรียนโรงเรียนสีชมพูศึกษา ในชั้นเรียนที่ครูผู้สอนโครงงาน ท าการสอน จ านวน 100 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้มาโดยวิธีการ เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ระยะที่ 3 การน ารูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน ไปใช้ กลุ่มตัวอย่างในการ วิจัยคือ ครูผู้สอนโครงงาน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จ านวน 32 คน นักเรียนในชั้นเรียนที่ครูผู้สอนโครงงาน ท าการสอน จ านวน 466 คน ระยะที่ 4 การประเมินการใช้รูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้ โดยใช้โครงงาน เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือครูผู้สอนโครงงาน จ านวน 32 คน นักเรียนในชั้นเรียนที่ครูผู้สอนโครงงานท าการสอน จ านวน 466 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แบบวิเคราะห์เนื้อหา 2) แบบสัมภาษณ์ 3) แบบทดสอบ 4) แบบสอบถาม 5) แบบประเมินและประเด็นการสนทนากลุ่ม 6) แบบประเมินโครงงาน 7) แบบประเมิน ทักษะการคิดแก้ปัญหา 8) แบบประเมินความพึงพอใจของครู 9) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( ̅) ค่าเฉลี่ยร้อยละ ( ̅) %) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) น าเสนอข้อมูลของการวิจัย ในลักษณะพรรณนาความ และการพรรณนาความประกอบตาราง ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน เพื่อการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้ โดยใช้ โครงงานเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน ด้วยวิธีการเชิง ปริมาณ พบว่า มีสภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการ คิดแก้ปัญหาของนักเรียน ภาพรวมอยู่ในระดับน้อย (µ = 2.09, σ = 0.22) เมื่อแยกพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงล าดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ าสุด พบว่า มีสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหา ของนักเรียน ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มากที่สุด (µ = 2.15, σ = 0.24) รองลงมาคือ ด้านนโยบายของสถานศึกษา (µ = 2.11, σ = 0.17) ด้านบรรยากาศของสถานศึกษา (µ = 2.06, σ = 0.21) และ ด้านนวัตกรรมและการใช้เทคโนโลยีน้อยที่สุด (µ = 2.02, σ = 0.25) มีระดับ ความต้องการในการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหา ของ นักเรียนภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด (µ = 4.71 , σ = 0.18) เมื่อแยกพิจารณาเป็นรายด้านเรียงล าดับ จากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ าสุด พบว่า มีความต้องการในการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อ เสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน ด้านนโยบายของสถานศึกษามากที่สุด (µ = 4.74, σ = 0.16) รองลงมาคือ ด้านบรรยากาศขององค์กร (µ = 4.73, σ = 0.15) ด้านนวัตกรรมและการใช้เทคโนโลยี(µ = 4.70, σ = 0.21) และ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้น้อยที่สุด (µ = 4.66, σ = 0.20) 2. ผลการพัฒนาได้รูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อเสริมสร้าง ทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน ซึ่งผู้วิจัยสังเคราะห์ขึ้นเรียกว่า MEKRU Model มีขั้นตอนการสอน 5 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 Mindset : M ปรับความคิด ขั้นที่ 2 Education yourself by project : E เรียนรู้ผ่านโครงงาน ขั้นที่ 3 Knowledge Sharing : K แลกเปลี่ยนความรู้ ขั้นที่ 4 Reflective thinking : R น าสู่การสะท้อนคิด ขั้นที่ 5 Understanding the problem solving skill : U เข้าใจทักษะ การคิดแก้ปัญหา 3. ผลการตรวจสอบประสิทธิภาพของรูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหา โรงเรียนโนนหันวิทยายน โดยผู้เชี่ยวชาญ 7 คน พบว่า รูปแบบ การบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียน โนนหันวิทยายน มีประสิทธิภาพ และ ผลจากการน ารูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน ไปใช้ พบว่า ภายหลังการใช้ รูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน ครูผู้สอนมีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อ เสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนสูงกว่าก่อนได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการ การบริหารจัดการ เรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน โดยมีร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ทักษะด้านการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานของ ครูผู้สอน หลังการอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความเชี่ยวชาญ ทางวิชาชีพ ด้านการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหา ของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน อยู่ในระดับสูงมาก ( ̅ = 12.66 ̅% = 84.38) สูงกว่าก่อนการอบรม เชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ด้านการบริหาร จัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาซึ่งอยู่ในระดับต่ า ( ̅ = 6.09 , ̅% = 40.63) 4. ความพึงพอใจของครูผู้สอนโครงงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน พบว่า มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด 5. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อครูผู้สอนโครงงานตามรูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียน โรงเรียนโนนหันวิทยายน พบว่า มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด

ดาวน์โหลด  ( บทคัดย่อ) 

งานวิจัยการศึกษา 5 อันดับล่าสุด

      รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงสู่ความยั่งยืน โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น 24/มี.ค./2567
      การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียนสร้างคนดีตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนมัธยมหนองเขียด 18/มี.ค./2567
      การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนเมืองพลพิทยาคมภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) 8/มี.ค./2567
      การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนมัธยมหนองเขียด 11/ก.พ./2567
      รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนมัธยมหนองเขียด 11/ก.พ./2567


กำลังแสดงหน้าที่ 1/0 ->
<< 1 >>



ชื่อ/Email :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ความคิดเห็น :


กรุณาใช้คำพูดที่สุภาพ และอย่าใช้คำพูดที่พาดพิงถึงบุคคลอื่นให้เสียหาย ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ


ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของระบบไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม กรุณาแจ้งที่ wiscn@live.com เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป