ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
ค้นหา   
นายก อบจ.ขอนแก่น

นายพงษ์ศักดิ์ ตั้งวานิชกพงษ์
นายก อบจ.ขอนแก่น

เมนูหลัก
คลังเก็บรูปภาพ
ระบบสารสนเทศ
โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม
โรงเรียนบ้านคูขาด (สถิตย์อุปถัมภ์)
โรงเรียนบ้านหนองเสี้ยว
โรงเรียนแท่นศิลาทิพย์ศึกษา
โรงเรียนศรีเสมาวิทยาเสริม
โรงเรียนพิศาลปุณณวิทยา
โรงเรียนซำสูงพิทยาคม
โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย
โรงเรียนหนองโนประชาสรรค์
โรงเรียนพูวัดพิทยาคม
โรงเรียนโคกสูงประชาสรรค์
โรงเรียนโนนหันวิทยายน
โรงเรียนสีชมพูศึกษา
โรงเรียนมัธยมหนองเขียด
โรงเรียนโนนโพธิ์ศรีวิทยาคม
โรงเรียนพระยืนวิทยาคาร
โรงเรียนซับสมบูรณ์พิทยาลัย
โรงเรียนเปรมติณสูลานนท์
โรงเรียนนางิ้ววิทยาสรรค์
โรงเรียนบ้านบะแค
โปรแกรมดูผลการเรียนนักเรียนรายบุคคล
เว็บไซด์โรงเรียนในสังกัด
ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
โรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น
โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม
โรงเรียนบ้านคูขาด (สถิตย์อุปถัมภ์)
โรงเรียนบ้านหนองเสี้ยว
โรงเรียนแท่นศิลาทิพย์ศึกษา
โรงเรียนศรีเสมาวิทยาเสริม
โรงเรียนพิศาลปุณณวิทยา
โรงเรียนซำสูงพิทยาคม
โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย
โรงเรียนหนองโนประชาสรรค์
โรงเรียนพูวัดพิทยาคม
โรงเรียนโคกสูงประชาสรรค์
โรงเรียนโนนหันวิทยายน
โรงเรียนสีชมพูศึกษา
โรงเรียนมัธยมหนองเขียด
โรงเรียนโนนโพธิ์ศรีวิทยาคม
โรงเรียนพระยืนวิทยาคาร
โรงเรียนซับสมบูรณ์พิทยาลัย
โรงเรียนเปรมติณสูลานนท์
โรงเรียนนางิ้ววิทยาสรรค์
โรงเรียนบ้านบะแค

  

งานวิจัยการศึกษา
    เรื่อง : การประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม

เจ้าของผลงาน : นายสุเทพ อ้นอมร
พฤหัสบดี ที่ 6 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2563
เข้าชม : 2223    จำนวนการดาวน์โหลด : 302 ครั้ง
Not Rated stars เฉลี่ย : Not Rated จาก 0 ครั้ง.

บทคัดย่อ :
ชื่อผลงาน      การประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของ
                  นักเรียนโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม
ผู้ประเมิน       นายสุเทพ  อ้นอมร
หน่วยงาน       โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น
ปีที่ประเมิน      2561
 
บทคัดย่อ
                การประเมินโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน โรงเรียนเมืองพลพิทยาคมกิจกรรมดำเนินงาน 10 กิจกรรมโดยใช้รูปแบบ CIPPIEST Model ได้แก่1) ด้านบริบท (Context) 2) ด้านปัจจัยนำเข้ (Imput) 3) ด้านกระบวนการ (Process) 4) ด้านผลผลิต (Product) และส่วนขยาย ด้านผลกระทบ (Impact) ประสิทธิผล (Effectiveness) ความยั่งยืน (Sustainability) และการถ่ายทอดความสำเร็จ (Transportability) ปีการศึกษา  2561 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่กลุ่มที่ 1 ใช้ประชากรเป็นกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2561 จำนวน 15 คน คณะกรรมการบริหารโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม จำนวน 12 คน คณะกรรมการดำเนินโครงการ จำนวน 10 คน  กลุ่มที่ 2 ใช้การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางสำเร็จรูปของ R.V.Krejcie and D.W.Morgan แล้วใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) โดยใช้สัดส่วนในการสุ่มกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 92 คน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6  จำนวน 341 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 341 คนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน6ฉบับและแบบทดสอบเกี่ยวกับการคิดวิเคราะห์ 1 ฉบับ วิคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการประเมินโครงการ
  1. ด้านบริบท พบว่า วัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ ความต้องการคาดหวังต่อ
โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน มีความสอดคล้อง กับนโยบายการศึกษาของกรมการปกครองส่วนท้องถิ่น นโยบายการศึกษาขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่นและนโยบายการศึกษาของโรงเรียน โดนภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด
2) ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่า ความเพียงพอเหมาะสมของทรัพยากรที่จะใช้ในการดำเนิน
โครงการ เช่น งบประมาณ บุคลาการ วัสดุอุปกรณ์ และรูปแบบกิจกรรม โดยภาพรวม อยู่ในระดับ
มาก
3) ด้านกระบวนการ พบว่าการวางแผน การดำเนินงานตามกิจกรรม การนิเทศติดตามผล
การดำเนินงาน การประเมิน และการปรับปรุงแก้ไข โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก
4) ด้านผลผลิต 
4.1 ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ พบว่า นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ นักเรียนนำความรู้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวัน นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
          4.2 ผลการประเมินความสามารถของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างในการทำแบบทดสอบ เกี่ยวกับทักษะการคิดวิเคราะห์ จำนวน 30 ข้อ พบว่านักเรียนกลุ่มตัวอย่างสามารถทำแบบทดสอบ เกี่ยวกับทักษะการคิดวิเคราะห์ ผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนดไว้ มากกว่าร้อยละ 70 ทุกข้อ โดยมีคะแนนเฉลี่ยรวม() เท่ากับ23.72,ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม (S.D.) เท่ากับ 1.05 และคิดร้อยละเฉลี่ย 79.07
                    4.3 ผลการประเมินด้านผลกระทบ ประสิทธิผล ความยั่งยืน และการถ่ายทอด
ความสำเร็จ ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน คณะกรรมการดำเนินโครงการและครูและบุคลากรทางการศึกษาต่อโครงการพบว่า มีความคิดเห็นสอดคล้องกันทั้งหมด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดโดยมีการประเมิน
                     ด้านผลกระทบโดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดโดยเรียงอันดับประเด็นจากมากไปหาน้อย 3 อันดับได้แก่นักเรียนมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางบวก รองลงมานักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ด้วยการอ่าน และนักเรียนนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองตามลำดับ
                    ด้านประสิทธิผล โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดโดยเรียงอันดับประเด็นจากมากไปหาน้อย 3 อันดับได้แก่นักเรียนรู้จักบูรณาการเรียนรู้อย่างได้ผลมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลดี รองลงมานักเรียนนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านมาใช้ในห้องเรียน และการค้นหาข้อมูลประกอบการเรียนรู้จากสื่อสารสนเทศทำได้รวดเร็วอย่างมีประสิทธิภาพ ตามลำดับ
                     ด้านความยั่งยืนโดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดโดยเรียงอันดับประเด็นจากมากไปหาน้อย 3 อันดับได้แก่นักเรียนเอาใจใส่ที่จะค้นค้นหาความรู้และต่อยอดความรู้อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง รองลงมานักเรียนมีความสุขกับการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน และนักเรียนให้ความร่วมมือกับการทำงานต่างๆ ร่วมกับผู้อื่น ตามลำดับ
                    ด้านการถ่ายทอดความสำเร็จ โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดโดยเรียงอันดับประเด็นจากมากไปหาน้อย 3 อันดับได้แก่นักเรียนสามารถนำประสบการณ์ความรู้หลังจากการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านไปประยุกต์ใช้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆได้รองลงมานักเรียนสามารถนำทักษะการอ่านไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันและโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านสามารถปรับใช้ได้ในทุกกิจกรรมทุกโรงเรียนตามลำดับ
                      4.4 ผลการประเมินความพึงพอใจของครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ปกครองนักเรียนและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6ที่มีต่อการโครงการพบว่ามีความคิดเห็นสอดคล้องกันทั้งหมด ผลการประเมินความพึงพอใจ ทั้งภาพรวมและรายข้อ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดโดยเรียงอันดับความพึงพอใจจากมากไปหาน้อย 3 อันดับได้แก่ทำให้เห็นประโยชน์และความสำคัญต่อการอ่านมากขึ้นรองลงมา ทำให้เกิดความก้าวหน้าในการเรียนรู้มากขึ้นกับนักเรียนสามารถนำทักษะการอ่านไปใช้ประโยชน์ในการเรียนและนักเรียนมีความสามารถในการเรียนเพิ่มขึ้นกับผู้ปกครอง นักเรียนและครู มีความพึงพอใจต่อการดำเนินงานโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านตามลำดับ
 
 
 
Title    The evaluation of the reading habit promotion project to develop
analytical thinking skills of Students of Muang Phon Pittayakhom School
Under the Office of Provincial Administration Organization   Khon Kaen
AssessorMr. Suthep Onamorn
Year2018
 
ABSTRAC'T
An evaluation of the reading habit promotion project to develop analytical thinking skills of students at Muangphonphitayakhom School The objective was to evaluate the performance of the project to promote reading habits in order to develop analytical thinking skills of students. Mueang Phon Phitthayakhom School 10 operating activities using the CIPPIEST Model: 1) Context 2) Imput 3) Process 4) Product and Impact Extension ) Effectiveness, Sustainability, and Success Transfers (Transportability) academic year 2018, sample group was1 group, using population as a sample, including 15 basic education committee of the academic year 2018, 12 administrative committee of Muang Pholphitayakhom School, 10 committee of the project operation group 2 Set the sample size according to the finished tables of RVKrejcie and DWMorgan and use the Stratified Random Sampling by using the proportion of random sampling, consisting of 92 teachers and educational personnel, grade 1-12 students. 6, 341 people, 341 parents and students. The instrument used for data collection was a 5 level estimation questionnaire and 1 analytical thinking test. Analyze the data with descriptive statistics such as frequency, value Percentage, average and standard deviation
The findings of project assessment
1) In the context, found that the objectives and goals of the project Expectation
Project to promote reading habits With consistency And the educational policy of the Department of Local Administration The educational policy of the Khon Kaen Provincial Administrative Organization and the educational policy of the school were at the highest level.
2) Regarding the input factors, it was found that the sufficiency and appropriateness of the resources to be used in the operation
Projects such as budgets, personnel, materials, and activity forms, in general, were at the level ofvery
3) In terms of the process, it was found that the operational planning based on the activities SupervisionAssessment operations and improvements In general, the operation was at a high level.
4) Productivity
   4.1 The achievement of the project found that students know how to make good use of their free time Students apply knowledge from reading to use in daily life. Students have a habit of reading The overall picture wasin a high level.
  4.2 Results of the evaluation of the sample student's ability In the test Regarding the analytical thinking skills, amount 30 items, found that the sample group of students Can do the test Analytical thinking skills Pass the specified evaluation criteria More than 70% of all items with the total average score () equal to 23.72, the total standard deviation (S.D.) was1.05 and the average percentage was79.07.
4.3 Assessment results of impacts, effectiveness, sustainability and transmission
Success according to the opinions of the school board. The project committees and teachers and educational personnel towards the project found that all opinions were consistent, with the overall average highest level. With assessment
Regarding the effects, the average picture is at the highest level. By ranking the issues from the most to the least 3 points, namely, students behave in a positive way Next, students know how to make good use of their free time by reading. And students use the knowledge gained from participating in activities to promote reading habits as a guideline for self-development respectively.
In terms of effectiveness, it was found that the average was at the highest level. By ranking the issues from 3 to most, including the students know how to integrate learning effectively, efficiently and with good effectiveness Next, students applied the knowledge gained from participating in activities to promote reading habits in the classroom. And searching for information to learn from information media is fast, efficient, respectively
Regarding sustainability, the overall picture is average at the highest level. By ranking the issues from 3 to most, including students paying attention to search for knowledge and continuing knowledge consistently and continuously Next, students are happy to participate in activities to promote reading habits. And students cooperate with various work Share with others respectively.
In the aspect of success transmission, the average picture is at the highest level. By ranking the issues from 3 to most, including the students can apply their knowledge and experience after participating in the reading habit promotion program to be used in various learning groups. Secondly, students were able to apply reading skills to their daily lives and the Reading Habits Project could be adapted for every activity, every school respectively.
4.4 Evaluation of teachers and educational personnel satisfaction results Parents, students and mathayom suksa 1-6 students towards the project showed that there were all opinions. Satisfaction assessment results Both the overview and each item Having the highest mean value at the highest level. By ranking the satisfaction levels from high to least 3, which is to see more benefits and importance to reading, followed by resulting in more learning progress, with students being able to apply reading skills to study And students have increased learning ability with parents Students and teachers Were satisfied with the implementation of the reading promotion program respectively.


ดาวน์โหลด  ( บทคัดย่อ) 

งานวิจัยการศึกษา 5 อันดับล่าสุด

      รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงสู่ความยั่งยืน โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น 24/มี.ค./2567
      การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียนสร้างคนดีตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนมัธยมหนองเขียด 18/มี.ค./2567
      การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนเมืองพลพิทยาคมภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) 8/มี.ค./2567
      การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนมัธยมหนองเขียด 11/ก.พ./2567
      รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนมัธยมหนองเขียด 11/ก.พ./2567


กำลังแสดงหน้าที่ 1/0 ->
<< 1 >>



ชื่อ/Email :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ความคิดเห็น :


กรุณาใช้คำพูดที่สุภาพ และอย่าใช้คำพูดที่พาดพิงถึงบุคคลอื่นให้เสียหาย ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ


ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของระบบไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม กรุณาแจ้งที่ wiscn@live.com เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป